วันจันทร์ที่ 03 มีนาคม 2014 เวลา 11:30 น. |
นัยน์ตาประกอบด้วยเลนส์ตาที่มีลักษณะคล้ายเลนส์นูน ทำหน้าที่เป็นเลนส์รับเเสง
ให้เกิดภาพบนเรตินา (Retina) ซึ่งทำหน้าที่เป้นฉากรับภาพ รอบเลนส์ตามีกล้ามเนื้อยึด
เลนส์ที่ทำหน้าที่ปรับโฟกัส โดยให้เลนส์ตานูนมากหรือน้อย เพื่อทำให้เกิดจริงบนเรตินา
เพราะนัยน์ไม่สามารถปรับระยะภาพได้ ธรรมชาติจึงสร้างวิธีทำให้ภาพชัดด้วยการใช้กล้ามเนื้อ
ยึดเลนส์ปรับความยาวโฟกัสของเลนส์ตา เเต่การปรับความยาวโฟกัสของเลนส์ตาจะมีข้อจำ
กัดจะมีระยะวัตถุน้อยที่สุด หรือตำเเหน่งใกล้วัตถุที่สุด ที่เราสามารถเห็นได้ชัดเรียกว่า
จุดใกล้ |
|
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 10:46 น. |
ลักษณะทางพันธ์ธุกรรม
จากการสังเกตสิ่งมีชีวิตรอบตัว เช่นสัตวืเลี้ยงในบ้าน ต้นไม้ที่ปลูกบริเวณบ้านนักเรียน
จะเห็นว่าลักษณะบางอย่างสิ่งมีชีวิตเหมือนหรือคล้ายกับสิ่งมีชีวิตก่อน**แม้แต่ในครอบครัว
นักเรียน สังเกตได้ว่าเป็นญาติใกล้ชิดกันก็มักจะมีหน้าตาคล้ายคลึงกัน ในกจกรรม
ที่จะได้ทำต่อไปนี้ นักเรียนจะสังเกต และสำรวจลักษณะภายนอกบางอย่างของมนุษย์
ถ่ายทอดพ่อแม่สู่ลูก |
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 10:13 น. |
มุมทิศมุม
การบอกตำแหน่งของวัตถุบนโลกเราจะใช้พิกัดของละจูด ตวบคู่ไปกับลองจิจูดดังที่ได้
กล่าวไปแล้ว สำหรับพิกัดของดวงดาวบนท้องฟ้า เราสามารถบอกได้อย่างง่าย..ด้วยค่ามุมทิศ
ควบคู่ไปกับมุมเงย ศึกษาบอกค่ามุมทิศและมุมเงยได้ |
แก้ไขล่าสุด ใน วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 11:35 น. |
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 09:59 น. |
ดาวหางเป็นวัตถุในท้องฟ้าชนิดหนึ่งที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ดาวหางส่วนใหญ่มาจากขอบนอกของระบบสุริยะ ตั่งแต่วงโคจรของดาวเคราะห์ออกไป เรียกบริเวณนั้นว่าดงดาวหาง มีส่วนนอกของใจกลางหัวที่ระเหิดเป็นไอเมื่อเข้าใก้ลดวงอาทิตย์
ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สฝ้ามัวล้อมรอบใจกลางหัวและทอดเหยียดออกไปจนดูเหมือนเป็นหางของดาว จึงเรียกดาวหางนั่นเอง โดยหางของดาวหางจะมี 2 หาง หางฝุ่นเป็นฝุ่น และแก๊สที่สะท้อนแสงอาทิตย์ปรากฏเป็นทางโค้งและหางแก๊สเกิดจากลมสุริยะ |
วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 09:47 น. |
ภาวะอิงศัย
นักเรียนอาจเคยเห็นพืชบางชนิด เช่น พลูด่าง กล้วยไม้ป่า
หรือเฟินเกาะติดตันไม้ใหญ่ โดยที่ลักษณะการเกาะของพืช
เหล่านี้เกาะอยู่ที่ผิวของเปลือกลำตัน ไม่มีส่วนใดชอนไชเข้าไป
ภายในลำตัน ตันใหญ่จึงไม่ได้รับผลกระทบต่อการดำรงชีวิต
พืชที่เกาะตันไม้ใหญ่จะได้รับความชื้น และแร่ธาตุจากเปลือก
ลำตัน จึงเป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งได้รับประโยชน์
เรีอกความสัมพันธ์ลักษณะนี้ว่า ภาวะอิงอาศัย |
แก้ไขล่าสุด ใน วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 11:34 น. |
|
|
|
|
หน้า 28 จาก 44 |